โครงสร้างทางสังคม คือ ระบบความสัมพันธ์ของกลุ่มคนในสังคม ที่มารวมตัวกันเป็นกลุ่มสังคม อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม อ่านเพิ่มเติม
การขัดเกลาทางสังคม
การขัดเกลาทางสังคม เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกิดขึ้นพร้อมกับกระบวนการทางจิตวิทยาที่จะทำให้สมาชิกในสังคมได้เรียนรู้ ยอมรับค่านิยม กฎเกณฑ์ วัฒนธรรม ระเบียบแบบแผนที่สังคมได้กำหนดไว้เพื่อให้บุคคลสามารถพัฒนาบุคลิกภาพและปรับตัวให้เป็นสมาชิกในสังคม อ่านเพิ่มเติม
ลักษณะของสังคมไทย
ลักษณะของสังคมไทย 1. เป็นสังคมเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
2. เป็นสังคมที่มีการแบ่งชนชั้น โดยยึดจากฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม อ่านเพิ่มเติม
2. เป็นสังคมที่มีการแบ่งชนชั้น โดยยึดจากฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม อ่านเพิ่มเติม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ อ่านเพิ่มเติม
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น อ่านเพิ่มเติม
แนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม
แม้ว่าสังคมจะมีความร่วมมือปรับเปลี่ยนและแก้ไข เพื่อให้ได้กลไกทางสังคมดำเนินไปอย่างราบรื่น แต่บางครั้งบางกรณีอาจเกิดปัญหาหรือข้อขัดแย้งขึ้นทั้งที่เป็นผลมาจากปัจจัยภายในและจากปัจจัยภายนอกของสังคม ซึ่งส่งผลให้การทำงานของกลไกทางสังคมไม่เป็นปกติและกลายเป็นปัญหาสังคมขึ้นมา อ่านเพิ่มเติม
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมทำให้คนในสังคมสามารถบ่งชี้สภาพแบบแผนการดำเนินชีวิต และยังทำให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มนุษย์ใช้วัฒนธรรมในการตอบสนองความต้องการของชีวิตและปรับตัวให้เข้ากับสังคมแต่ละแห่ง วัฒนธรรมจึงสามารถเป็นตัวก่อให้เกิดความสมานฉันท์ ที่เกิดจากความภูมิใจและการสะท้อนตัวตนของความเป็นคนในสังคมได้ อ่านเพิ่มเติม
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติไทย เป็นผลรวมจากความรู้ ความคิด สติปัญญาของมนุษย์ ที่สั่งสมสืบต่อกันมาโดยผ่านการปรับปรุงพัฒนาให้เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยของสังคมไทย ทั้งวัฒนธรรมเดิมของไทยและวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลจากชนชาติต่างๆ ซึ่งถูกนำมาปรับปรุง ผสมผสาน และกล่อมเกลาจนเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทยไปในที่สุด อ่านเพิ่มเติม
การเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยที่มีมาแต่อดีตของสังคมไทยที่ควรเปลี่ยนแปลง
1.การทำงาน คนไทยมักทำงานจับจด ชอบทำงานสบายที่ได้เงินดีโดยไม่ต้องเปลืองแรง มักโทษโชคชะตาที่ไม่เข้าข้างตน ไม่มีระเบียบวินัย สิ่งที่จะต้องสร้างให้เกิดขึ้น อ่านเพิ่มเติม
ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
วัฒนธรรมในแต่ละสังคมย่อมมีความแตกต่างกันออกไป ในที่นี้จะนำเสนอความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล โดยเน้นไปที่วัฒนธรรมของโลกตะวันออกซึ่งมีความใกล้ตัว และเป็นกระแสที่ถาโถมเข้ามายังวัฒนธรรมไทยอย่างมากในปัจจุบัน อ่านเพิ่มเติม
การเลือกรับวัฒนธรรมสากล
ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างไทยกับนานาชาติมีมาช้านาน เนื่องจากไทยมีการติดต่อสัมพันธ์กับนานาชาติตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยเฉพาะจีนและอินเดียเป็นสองชาติแรกที่มีการติดต่อค้าขายกับไทย จึงทำให้ไทยได้รับวัฒนธรรมทั้งด้านภาษา ศาสนา และความเชื่อ ต่อมาเมื่อมีการติดต่อกับชาติตะวันตก ไทยจึงได้รับวิทยาการทางเทคโนโลยีจากชนชาติตะวันตก อ่านเพิ่มเติม
คุณลักษณะของพลเมืองดี
คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า อ่านเพิ่มเติม
รัฐ
รัฐ คือ กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ ไม่ขึ้นกับรัฐอื่นหรืออำนาจอื่นจากภายนอก และอาจกล่าวได้ว่า รัฐสามารถคงอยู่ได้แม้จะไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอื่น อ่านเพิ่มเติม
ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์
ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ไทย
ตามการปกครองระบอบประชาธิปประไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น เป็นการปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและในฐานะอื่นๆซึ่งเป็นไปตามที่รับธรรมนูญกำหนดไว้ ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
ตามการปกครองระบอบประชาธิปประไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น เป็นการปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและในฐานะอื่นๆซึ่งเป็นไปตามที่รับธรรมนูญกำหนดไว้ ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐ
ตามที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่แล้วเสร็จ เพื่อเผยแพร่ให้มีการพิจารณาให้ข้อคิดเห็น เพื่อสภาร่างรัฐธรรมนูญจะได้พิจารณาในขั้นตอนการแปรญัตติก่อนที่จะเป็นร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่มีความสมบูรณ์สำหรับให้ประชาชนคนไทยทั้งประเทศได้ออกเสียงประชามติต่อไปนั้น อ่านเพิ่มเติม
สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย
การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เป็นวิกฤตการณ์การเมืองที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน เกิดการประท้วงต่อต้านรัฐบาลตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2556 ถึงพฤษภาคม 2557 จัดระเบียบโดย กปปส. กลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองซึ่งจัดและมีสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้นำ การประท้วงนี้ลงเอยด้วยยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี พ้นจากตำแหน่ง รัฐประหารและการสถาปนาคณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครอง อ่านเพิ่มเติม
กฎหมายเกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว
กฎหมายแพ่งเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับเอกชนหรือคนแต่ละคน ทั้งเมื่อยู่ตามลำพัง และเมื่อติดต่อกับผู้อื่นดังจะเห็นได้จากเนื้อหาของกฎหมายแพ่งของไทย ซึ่งมีรวบรวมไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่ามีบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องของบุคคล ครอบครัว ทรัพย์สิน นิติกรรม และสัญญา ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคน อ่านเพิ่มเติม
กฎหมายเกี่ยวกับชุมชนและประเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชน
๑) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษาซึ่งประกาศบังคับใช้เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งมีสาระสำคัญ ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
๑) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษาซึ่งประกาศบังคับใช้เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งมีสาระสำคัญ ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
ปัญหาการถูกทำลายของชั้นโอโซนได้ถูกหยิบยกมาอภิปรายโดยองค์การสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ(United Nations Environment Programme, UNEP) ซึ่งได้จัดตั้งคณะกรรมการประสานงานเรื่องชั้นโอโซน ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนจากองค์กรต่างๆ เช่นองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก อ่านเพิ่มเติม
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน (Human Right) หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ อ่านเพิ่มเติม
สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) ซึ่งร่างขึ้นโดย องค์กรซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองขณะนั้น ระบุไว้ในมาตรา 4 ว่า "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง" อ่านเพิ่มเติม
องค์การระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน
องค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีต่อประเทศไทย 1. คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council)
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ(Un commission for human rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 47 ประเทศ วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ อ่านเพิ่มเติม
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ(Un commission for human rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 47 ประเทศ วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ อ่านเพิ่มเติม
การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและป้องกันผลประโยชน์ของตน หรือระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการแข่งขันทางการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน
ไทย – สาธารณรัฐฝรั่งเศส
1. ประธานาธิบดี ฌาคส์ ชีรัค
1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 -11 ตุลาคม พ.ศ. 2548 อ่านเพิ่มเติม
1. ประธานาธิบดี ฌาคส์ ชีรัค
1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 -11 ตุลาคม พ.ศ. 2548 อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)